ที่โรงงานเขาเม้าท์ Q.A. (สุดที่รัก) กันว่าอย่างไร
[vc_row][vc_column][vc_video link=”https://youtu.be/6naF1CIbHl0″ title=”ชีวิต Q.A.”][vc_column_text] ฝ่ายผลิต: เหนื่อยวะ !!! ทำงานทุกวันนี่ก็เยอะ จะทำกันไม่ทันอยู่ล่ะ จะเอาโน้นเอานี่
[vc_row][vc_column][vc_video link=”https://youtu.be/6naF1CIbHl0″ title=”ชีวิต Q.A.”][vc_column_text] ฝ่ายผลิต: เหนื่อยวะ !!! ทำงานทุกวันนี่ก็เยอะ จะทำกันไม่ทันอยู่ล่ะ จะเอาโน้นเอานี่
การทบทวนและประกาศใช้ ISO 22000 ฉบับใหม่ล่าสุด ตั้งแต่การประกาศใช้มาตรฐาน ISO 22000 เป็นครั้งแรกในปี 2005 ผู้ที่นำระบบมาตรฐานไปประยุกต์ใช้ได้ประสบปัญหาท้ายทายด้านความปลอดภัยอาหารต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการจัดความปลอดภัยอาหารในโซ่อุปทานการผลิตสินค้าอาหาร ทำให้มีความจำเป็นต้องมีการทบทวนมาตรฐานดังกล่าว โดยปกติแล้ว ขั้นตอนปกติของมาตรฐาน
ด้วยสภาพการแข่งขันและความซับซ้อนทางธุรกิจ ทำให้ต้องเน้นประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านต้นทุนเพื่อให้ได้เปรียทางการแข่งขัน ขณะเดียวกันการดำเนินงานต่างก็ต้องเหมาะสมสอดคล้องกับการจัดการความปลอดภัยอาหาร ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารจึงต้องพัฒนาบุคลาการให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและเทคนิคในการวิเคราะห์ปัญหา รวมถึงวิธีการตัดสินใจ เพื่อนำไปสู่การเลือกแนวทางการปฏิบัติที่จะทำให้กิดการเพิ่มผลผลิตให้กับองค์กรโดยรวม เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทการดำเนินงานของอุตสาหกรรมอาหาร หลักสูตรเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการเพื่อการแก้ปัญหาและเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรมอาหารเป็นหลักสูตรที่ออกแบบเน้นหลักการและกรณีศึกษาของการนำเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการมาใช้กับอุตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ จากวิทยากรผู้มีประสบการณ์ทำงานจากอุตสาหกรรมอาหารโดยตรง ไม่ได้นำตัวอย่างจากอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่บริบททางธุรกิจแตกต่างกันแล้วปล่อยให้ผู้เข้าอบรมไปคิดประยุกต์กับอุตสาหกรรมอาหารเอาเอง แต่เน้นตัวอย่างกรณีศึกษาการแก้ปัญหาและการเพิ่มผลลิตจากอุตสาหกรรมอาหารโดยตรง ผู้เข้าอบรมสามารถกำหนดแนวทางการแก้ปัญหา วิธีการดำเนินงานที่เหมาะสมทั้งประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านต้นทุน
[vc_row][vc_column animation=”flash”][vc_single_image image=”242″ img_size=”large” alignment=”center” onclick=”custom_link” img_link_target=”_blank” css_animation=”flash” link=”http://www.pantainorasingh.com/ “][vc_column_text css_animation=”flash”]In January 2017, Food Professional